บันทึกอนุทินครั้งที่ 8
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 4 เดือนมีนาคม พ.ศ.2558
ครั้งที่ 8 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
ในรายสัปดาห์นี้เป็นการเริ่มต้นการเรียนที่สนุกสนานมาก นักศึกษาชอบใจ แต่ก่อนที่จะไปฟังเกมส์สนุกสนานเราก็มาพูดเรื่องการจัดงานบายเนียร์ให้รุ่นพี่ปี 5 เพราะกำลังมีปัญหาเรื่องการเงินเพราะบางคนจะไม่จ่ายเพราะว่าตนเองไม่ไป ก็เลยเก็บเงินยังไมครบ ซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังมาก ซึ่งดิฉันคิดว่าเป็นปัญหาให้นะคะ เพราะมันเป็นหน้าที่ของรุ่นเรา ซึ่งปี 3 เป็นคนจัด และคิดว่าใครจะไปหรือไม่ไปก็ช่างแต่สิ่งที่ควรคือทุกคนต้องจ่าย เพราะเราเป็นคนจัดเป็นหน้าที่ของ เรางานบายเนียร์นี้ดิฉันก็ไม่ได้ไปคะ แต่ดิฉันจ่ายเพราะจะไปไม่ไปสิทธิ์ของเรา แค่เงิน 500 บาทถือว่าเราช่วยเพื่อนๆเอกเรา และมันเป็นงานของเรา คนเราควรจะมีจิตสำนึกที่ดี โตแล้วควรรู้ตัวเองแล้วคะ .....บายเนียร์จบไปทีนี้ก็เข้าสู่โหมดสนุกสนาน เกมส์เฮฮา นักศึกษาชอบใจ โดยเกมส์นี้เป็นเกมส์รถไฟเหาะแห่งชีวิต
โดยมี คำถาม 5 ข้อดังต่อไปนี้
1.ถ้าเราไปถึงสวนสนุกแล้ว แล้วเราจะไปขึ้นรถไฟเหาะเราคิดว่าเราจะรอกี่นาที
2.เมื่อขึ้นไปยังรถไฟเหาะที่หวาดเสียวแล้วเราจะทำอย่างไร
3.เมื่อรถไฟเหาะลงมากะทบกับน้ำนักศึกษาจะร้องออกมาว่าอะไร
4.เมื่อเราไปขี่ม้าหมุน แล้วม้าหมุนของเราดันเสียเราจะทำอย่างไร
5.ให้วาดภาพรถไฟเหาะของตนเอง
โดยคำตอบที่ดิฉันตอบมีดังนี้
1.ไปต่อแถวจนกว่าจะถึงตาเรา
2.หลับตา
3.อ้ายยยยยยยยยยยย
4.ยืนงง แล้วยิ้มมมมมมมม :)
5.เรียบง่าย ตรง ๆ ชมวิวไปเรื่อย ...............................................................
เฉลยทั้ง 5 ข้อ
1.เฉลยว่าเวลาในการจู่โจมกับแฟนหนุ่มเป็นดังนี้คะ นานเท่าไหร่ก็รอ
2.เฉลยเวาลาจู่โจมกับแฟนหนุ่มเราจะทำอะไร ของฉันหลับตา 5555
3.เฉลยขณะจู่โจมกับแฟนหนุ่มเราจะร้องอย่างไร ของหนู อ้ายยยยยยยยยยยยยยย
4.เฉลยหากการจู่โจมอยู่ฝ่ายชายเกิดมีปัญหาชะงัก เราจะทำอย่างไร ของหนู ยืนงง แล้วยิ้มมมมมมม
5.เฉลยท่าไม้ตายของเราอยากให้เป็นอย่างไร ของหนู เรียบง่าย ชมวิวไปเรื่อยๆ
โดยอาจารย์บอกว่าผลที่พบมาเป็นจริง หรือใล้เคียงกับที่นักศึกษาตอบ
ซึ่งเกมส์นี้ดิฉันคิดว่านักศึกษากลุ่มดิฉันชอบใจ สนุกสนาน อยากให้อาจารย์นำเกมส์แบบนี้มาเล่นอีกคะ ทำให้ไม่เครียดก่อนการเรียน :) ความสนุกสนานจบไปแต่การเรียนยังไม่จบนะจ๊ะ
หลังจากสนุกสนานกันมามากพอ ทีนี้ก็ถึงการนำเข้าสู่บทเรียน เรื่อง การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้คะ
โดยอาจารย์ได้บอกว่าเด็กพิเศษสิ่งที่ควรส่งเสริมทักษะเเรกคือ ทักษะด้านสังคม จดจำไว้ว่าทักษะนี้สภาพแวดล้อมไม่ค่อยส่งผลมากกับเด็ก มันขึ้นอยู่กับตัวของเด็กเอง สิ่งเเวดล้อมไม่ได้ช่วย
เช่น ต่อให้ครูจัดมุมสภาพแวดล้อมที่ดีขนาดไหนน้องเขาก็ไม่เข้า ครูต้องปรับที่ตัวเด็กเองไม่ใช่สภาพแวดล้อม
*การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข
*เด็กพิเศษขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อหรือแม่
กิจกรรมการเล่น จุดเด่นของเด็กพิเศษจะชอบเลียนแบบเพื่อน เด็กพิเศษจะชอบสำรวจเพื่อนเหมือนของเล่น การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม เด็กจะสนใจกันเองโดยการเล่นเป็นสื่อ ในช่วงเเรกๆเด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเ็นเพื่อน เเต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสัมผัส น่าสำรวจ น่าผลัก น่าดึง เช่น
1. หากเด็กพิเศษสมาธิสั้นเดินอยู่ แล้วมีคนยืนอยู่หน้าประตูข้างหน้า น้องสมาธิสั้นก็จะเดินชน หรือผลักหรือกระเเทกออกไป
2.หากมีกระเป๋าขวางทางอยู่ ถ้าเป็นเด็กปกติเด็กปกติจะยกกระเป๋าออกหรือกระโดดข้าม แต่ต่างจากเด็กพิเศษ เด็กพิเศษจะเดินชน หรือเหยียบ
ยุทธศาสตร์การสอน
เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีการเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นเบบใด ดังนั้นครูควรทำการจดบันทึก และทำแผน IEP
แผน IEP จะเขียนได้ก็ต่อเมื่อครูผู้สอนรู้ลึก รู้จริง แผน IEP เด็กทุกคนสามารถมีได้ไม่จำเป็นแค่เพียงเด็กพิเศษ
สิ่งที่ครูควรปฎิบัติขณะเด็กเล่น
1.อยู่ใกล้ๆและเฝ้ามองอย่างสนใจ
2.ยิ้มและพยักหน้าให้ เมื่อเด็กหันมาหาครู
3.ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
4.เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาการเล่น
5.ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
เคสตัวอย่าง ถ้าเด็กทำงานศิลปะอยู๋ ครูยิ้มให้แต่ไม่ต้องเข้าไปยุ่งกับเด็ก
การกระตุ้นเเละการเลียนแบบเอาเยี่ยงอย่าง เด็กจะเลียนแบบจากเพื่อน ถ้าเด็กเล่นคนเดียวจะไม่เกิดผล เด้กต้องเล่น 2-4 คน ในเด็ก 4 คนควรเป็นเด็กปกติ 3 คน เด็กพิเศษ 1 คน เด็กพิเศษทำหน้าที่เหมือนครู เด็กพิเศษทำหน้าที่เป็นนักเรียน เลียนแบบครู ที่สำคัญเด็กพิเศษจะไม่ชอบจับกลุ่มเล่นกันเอง เคสตัวอย่าง หากเด็กเล่นทรายกันอยู่ 4 คน ครูควรใส่ของเล่นลงไป 2 ชิ้น เพื่อให้เด็กแบ่งกันเล่น และรู้จักการรอคอย หากมีของเล่นเยอะๆครูไม่ควรใส่ลงไปทีเดียว ควรทยอยใส่ลงไปเพื่อยืดเวลาในการเล่น และเด็กได้เล่นของเล่นทุกอันทักษะทางสังคมนั้น สามารถฝึกสมาธิเด็กได้ดี ดังนั้นในการให้แรงเสริมทางสังคมในริบทที่เด็กเล่น ครูควรพูดชักชวนให้เด็กเล่นกับเพื่อน ทำโดยการพูดนำของครู เช่น หากเด็กปกติเล่นทรายกันอยู่ เป็นกลุ่ม โดยฝั่งตรงข้ามมีน้องมิ้นท์ซึ่งเป็นดาว์นซินโดรม อยากเข้าไปปเล่นกับเพื่อนคนเป็นครูควรหาอุปกรณ์การเล่นทรายให้น้องมิ้น และจูงมือน้องมิ้นเข้าไปหากลุ่มเ็กปกติที่เล้นทรายอยู่ และครูพูดนำเชิง น้องมิ้นมีอุปกรณ์เล่นทรายนะ พูดให้เด็กปกติมาเล่นกับน้องมิ้นท์เพราะน้องมิ้นก็มีอุปกรณ์การเล่นเหมือนกัน
สิ่งที่ช่วยให้เด็กรู้กฏเกณฑ์ เด็กทุกคนรู้จักกฎเกณฑ์เพราะเด็กทุกคนเท่าเทียมกัน เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง และครูต้องไม่ใช้ข้อบกพร่องของเด็กพิเศษมาเป็นเครื่องต่อรอง
เช่น หากเด็กพิเศษไปซื้อซื้อข้าว ครูไม่ควรให้เด็กแพิเศษแซงคิว เพราะเห็นว่ามีความบกพร่อง วิธีแบบนี้ถือว่าผิดคะ
หลังจากจบการเรียนการสอน ก็เป็นการร้องเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย โดยอาทิตย์นี้ มีทั้งหมด 6 เพลง
คือ เพลงดวงอาทิตย์ เพลงดวงจันทร์ เพลงดอกมะลิ เพลงกุหลาบ เพลงนกเขาขัน เพลงรำวงดอกมะลิ โดยมีเนื้อหาเพลงดังต่อไปนี้คะ
ในรายสัปดาห์นี้เป็นการเริ่มต้นการเรียนที่สนุกสนานมาก นักศึกษาชอบใจ แต่ก่อนที่จะไปฟังเกมส์สนุกสนานเราก็มาพูดเรื่องการจัดงานบายเนียร์ให้รุ่นพี่ปี 5 เพราะกำลังมีปัญหาเรื่องการเงินเพราะบางคนจะไม่จ่ายเพราะว่าตนเองไม่ไป ก็เลยเก็บเงินยังไมครบ ซึ่งเป็นปัญหาเรื้อรังมาก ซึ่งดิฉันคิดว่าเป็นปัญหาให้นะคะ เพราะมันเป็นหน้าที่ของรุ่นเรา ซึ่งปี 3 เป็นคนจัด และคิดว่าใครจะไปหรือไม่ไปก็ช่างแต่สิ่งที่ควรคือทุกคนต้องจ่าย เพราะเราเป็นคนจัดเป็นหน้าที่ของ เรางานบายเนียร์นี้ดิฉันก็ไม่ได้ไปคะ แต่ดิฉันจ่ายเพราะจะไปไม่ไปสิทธิ์ของเรา แค่เงิน 500 บาทถือว่าเราช่วยเพื่อนๆเอกเรา และมันเป็นงานของเรา คนเราควรจะมีจิตสำนึกที่ดี โตแล้วควรรู้ตัวเองแล้วคะ .....บายเนียร์จบไปทีนี้ก็เข้าสู่โหมดสนุกสนาน เกมส์เฮฮา นักศึกษาชอบใจ โดยเกมส์นี้เป็นเกมส์รถไฟเหาะแห่งชีวิต
โดยมี คำถาม 5 ข้อดังต่อไปนี้
1.ถ้าเราไปถึงสวนสนุกแล้ว แล้วเราจะไปขึ้นรถไฟเหาะเราคิดว่าเราจะรอกี่นาที
2.เมื่อขึ้นไปยังรถไฟเหาะที่หวาดเสียวแล้วเราจะทำอย่างไร
3.เมื่อรถไฟเหาะลงมากะทบกับน้ำนักศึกษาจะร้องออกมาว่าอะไร
4.เมื่อเราไปขี่ม้าหมุน แล้วม้าหมุนของเราดันเสียเราจะทำอย่างไร
5.ให้วาดภาพรถไฟเหาะของตนเอง
โดยคำตอบที่ดิฉันตอบมีดังนี้
1.ไปต่อแถวจนกว่าจะถึงตาเรา
2.หลับตา
3.อ้ายยยยยยยยยยยย
4.ยืนงง แล้วยิ้มมมมมมมม :)
5.เรียบง่าย ตรง ๆ ชมวิวไปเรื่อย ...............................................................
เฉลยทั้ง 5 ข้อ
1.เฉลยว่าเวลาในการจู่โจมกับแฟนหนุ่มเป็นดังนี้คะ นานเท่าไหร่ก็รอ
2.เฉลยเวาลาจู่โจมกับแฟนหนุ่มเราจะทำอะไร ของฉันหลับตา 5555
3.เฉลยขณะจู่โจมกับแฟนหนุ่มเราจะร้องอย่างไร ของหนู อ้ายยยยยยยยยยยยยยย
4.เฉลยหากการจู่โจมอยู่ฝ่ายชายเกิดมีปัญหาชะงัก เราจะทำอย่างไร ของหนู ยืนงง แล้วยิ้มมมมมมม
5.เฉลยท่าไม้ตายของเราอยากให้เป็นอย่างไร ของหนู เรียบง่าย ชมวิวไปเรื่อยๆ
โดยอาจารย์บอกว่าผลที่พบมาเป็นจริง หรือใล้เคียงกับที่นักศึกษาตอบ
ซึ่งเกมส์นี้ดิฉันคิดว่านักศึกษากลุ่มดิฉันชอบใจ สนุกสนาน อยากให้อาจารย์นำเกมส์แบบนี้มาเล่นอีกคะ ทำให้ไม่เครียดก่อนการเรียน :) ความสนุกสนานจบไปแต่การเรียนยังไม่จบนะจ๊ะ
หลังจากสนุกสนานกันมามากพอ ทีนี้ก็ถึงการนำเข้าสู่บทเรียน เรื่อง การส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้คะ
โดยอาจารย์ได้บอกว่าเด็กพิเศษสิ่งที่ควรส่งเสริมทักษะเเรกคือ ทักษะด้านสังคม จดจำไว้ว่าทักษะนี้สภาพแวดล้อมไม่ค่อยส่งผลมากกับเด็ก มันขึ้นอยู่กับตัวของเด็กเอง สิ่งเเวดล้อมไม่ได้ช่วย
เช่น ต่อให้ครูจัดมุมสภาพแวดล้อมที่ดีขนาดไหนน้องเขาก็ไม่เข้า ครูต้องปรับที่ตัวเด็กเองไม่ใช่สภาพแวดล้อม
*การอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ดีไม่ได้เป็นเครื่องรับประกันว่าเด็กจะมีพัฒนาการต่างๆอย่างมีความสุข
*เด็กพิเศษขาดทักษะทางสังคม ไม่ได้มีสาเหตุมาจากพ่อหรือแม่
กิจกรรมการเล่น จุดเด่นของเด็กพิเศษจะชอบเลียนแบบเพื่อน เด็กพิเศษจะชอบสำรวจเพื่อนเหมือนของเล่น การเล่นเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งต่อการเรียนรู้ทักษะทางสังคม เด็กจะสนใจกันเองโดยการเล่นเป็นสื่อ ในช่วงเเรกๆเด็กจะไม่มองเด็กคนอื่นเ็นเพื่อน เเต่เป็นอะไรบางอย่างที่น่าสัมผัส น่าสำรวจ น่าผลัก น่าดึง เช่น
1. หากเด็กพิเศษสมาธิสั้นเดินอยู่ แล้วมีคนยืนอยู่หน้าประตูข้างหน้า น้องสมาธิสั้นก็จะเดินชน หรือผลักหรือกระเเทกออกไป
2.หากมีกระเป๋าขวางทางอยู่ ถ้าเป็นเด็กปกติเด็กปกติจะยกกระเป๋าออกหรือกระโดดข้าม แต่ต่างจากเด็กพิเศษ เด็กพิเศษจะเดินชน หรือเหยียบ
ยุทธศาสตร์การสอน
เด็กพิเศษหลายๆคนไม่รู้วิธีการเล่น ไม่รู้ว่าจะเล่นอย่างไร ครูเริ่มต้นจากการสังเกตเด็กแต่ละคนอย่างเป็นระบบ ซึ่งจะบอกได้ว่าเด็กมีทักษะการเล่นเบบใด ดังนั้นครูควรทำการจดบันทึก และทำแผน IEP
แผน IEP จะเขียนได้ก็ต่อเมื่อครูผู้สอนรู้ลึก รู้จริง แผน IEP เด็กทุกคนสามารถมีได้ไม่จำเป็นแค่เพียงเด็กพิเศษ
สิ่งที่ครูควรปฎิบัติขณะเด็กเล่น
1.อยู่ใกล้ๆและเฝ้ามองอย่างสนใจ
2.ยิ้มและพยักหน้าให้ เมื่อเด็กหันมาหาครู
3.ไม่ชมเชยหรือสนใจเด็กมากเกินไป
4.เอาวัสดุอุปกรณ์มาเพิ่ม เพื่อยืดเวลาการเล่น
5.ให้ความคิดเห็นที่เป็นแรงเสริม
เคสตัวอย่าง ถ้าเด็กทำงานศิลปะอยู๋ ครูยิ้มให้แต่ไม่ต้องเข้าไปยุ่งกับเด็ก
การกระตุ้นเเละการเลียนแบบเอาเยี่ยงอย่าง เด็กจะเลียนแบบจากเพื่อน ถ้าเด็กเล่นคนเดียวจะไม่เกิดผล เด้กต้องเล่น 2-4 คน ในเด็ก 4 คนควรเป็นเด็กปกติ 3 คน เด็กพิเศษ 1 คน เด็กพิเศษทำหน้าที่เหมือนครู เด็กพิเศษทำหน้าที่เป็นนักเรียน เลียนแบบครู ที่สำคัญเด็กพิเศษจะไม่ชอบจับกลุ่มเล่นกันเอง เคสตัวอย่าง หากเด็กเล่นทรายกันอยู่ 4 คน ครูควรใส่ของเล่นลงไป 2 ชิ้น เพื่อให้เด็กแบ่งกันเล่น และรู้จักการรอคอย หากมีของเล่นเยอะๆครูไม่ควรใส่ลงไปทีเดียว ควรทยอยใส่ลงไปเพื่อยืดเวลาในการเล่น และเด็กได้เล่นของเล่นทุกอันทักษะทางสังคมนั้น สามารถฝึกสมาธิเด็กได้ดี ดังนั้นในการให้แรงเสริมทางสังคมในริบทที่เด็กเล่น ครูควรพูดชักชวนให้เด็กเล่นกับเพื่อน ทำโดยการพูดนำของครู เช่น หากเด็กปกติเล่นทรายกันอยู่ เป็นกลุ่ม โดยฝั่งตรงข้ามมีน้องมิ้นท์ซึ่งเป็นดาว์นซินโดรม อยากเข้าไปปเล่นกับเพื่อนคนเป็นครูควรหาอุปกรณ์การเล่นทรายให้น้องมิ้น และจูงมือน้องมิ้นเข้าไปหากลุ่มเ็กปกติที่เล้นทรายอยู่ และครูพูดนำเชิง น้องมิ้นมีอุปกรณ์เล่นทรายนะ พูดให้เด็กปกติมาเล่นกับน้องมิ้นท์เพราะน้องมิ้นก็มีอุปกรณ์การเล่นเหมือนกัน
สิ่งที่ช่วยให้เด็กรู้กฏเกณฑ์ เด็กทุกคนรู้จักกฎเกณฑ์เพราะเด็กทุกคนเท่าเทียมกัน เด็กพิเศษต้องเรียนรู้สิทธิต่างๆเหมือนเพื่อนในห้อง และครูต้องไม่ใช้ข้อบกพร่องของเด็กพิเศษมาเป็นเครื่องต่อรอง
เช่น หากเด็กพิเศษไปซื้อซื้อข้าว ครูไม่ควรให้เด็กแพิเศษแซงคิว เพราะเห็นว่ามีความบกพร่อง วิธีแบบนี้ถือว่าผิดคะ
หลังจากจบการเรียนการสอน ก็เป็นการร้องเพลงสำหรับเด็กปฐมวัย โดยอาทิตย์นี้ มีทั้งหมด 6 เพลง
คือ เพลงดวงอาทิตย์ เพลงดวงจันทร์ เพลงดอกมะลิ เพลงกุหลาบ เพลงนกเขาขัน เพลงรำวงดอกมะลิ โดยมีเนื้อหาเพลงดังต่อไปนี้คะ
เพลง ดวงอาทิตย์
ยามเช้าตรู่อาทิตย์ทอแสง
เป็นประกายเรืองรอง ผ่องนภา
ส่องสว่างไปทั่วแหล่งหล้า บ่องเวลาว่ากลางวัน
เพลง ดวงจันทร์
ดวงจันทร์ทอแสงนวลใย
สุกใสอยู่ในท้องฟ้า
เราเห็นดวงจันทรา
แสงพราวตาเวลาค่ำคืน
เพลง ดอกมะลิ
ดอกมะลิ กลีบขาวพราวตา
เก็บเอามาร้อยเป็นมาลัย
บูชาพระทั้งใช้ทำยาก็ได้
ลอยในน้ำ อบขนมหอมชื่นใจ
เพลง กุหลาบ
กุหลาบงาม ก้านหนามแหลมคม
จะเด็ดดมระวังกายา
งามสดสีสมเป็นดอกไม้มีค่า
เก็บเอามาประดับไว้ในเเจกัน
เพลงนกเขาขัน
ฟังสิฟังนกเขาขันมันขยันขันคู
ฟังสิฟังนกเขาขันมันขยันขันคู
จุ๊กกรู จุ๊กกรู จุ๊กกรู จุ๊กกรู จุ๊กกรู
เพลงรำวงดอกมะลิ
รำวง รำวง ร่วมใจ
หอมดอกมะลิที่ร้อยมาลัย
กลิ่นหอมตามลมไปไกล
หอมกลิ่นชื่นใจ จริงเอย
และกิจกรรมต่อไปเป็นกิจกรรมดนตรีบำบัด โดยวาดภาพไปฟังเพลงไป โดยอาจารย์ให้จับคู่กับเพื่อน 2 3 คนโดย เเจกกระดาษปอนด์คู่ละ 1 แผ่น และสีคนละ 1 สี โดยคนนึงขีดเส้นไปตามเสียงเพลง อีกคนนึงจุดตามวงกลมที่เพื่อนขีดเส้นจนกว่าเพลงจะจบ แล้วหลังจากนั้นก็เเต่งเติมให้เป็นรูปภาพ ว่ามองแล้วออกรูปอะไร โดยดิฉันจับคู่กับนางสาวสุกัญญา ทองทา โดยภาพที่ได้เป็นดังนี้
ประเมินการเรียนการสอนรายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและเข้าเรียนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อย และตั้งใจทำงานที่อาจารย์มอบหมายเสร็จในคาบ ตั้งใจทำอย่างตั้งใจ
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนเเต่งกายเรียบร้อย เข้าเรียนเกือบ 100 เปอร์เซนต์ ร่วมกันตอบคำถาม และมีส่วนร่วมในการเรียนในห้องเรียน ทำงานที่อาจารย์มอบหมายจนสำเร็จ
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงต่อเวลา สอนสนุกสนาน มีรูปแบบการสอนที่แปลกใหม่ เช่น เกมมาเล่นก่อนการสอน
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น