บันทึกอนุทินครั้งที่ 9
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 11 เดือนมีนาคม พ.ศ.2558
ครั้งที่ 9 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
ในรายสัปดาห์นี้เริ่มเรียนอาจารย์ได้พูดถึงการไปสอบเข้าบรรจุรับราชการของสังกัด กทม.และ สพธ.โดยมีข้อแตกต่างกันในการสอบบรรจุจะต้องผ่าน 3 ด่าน คือ สอบภาค ก สอบภาค ข และ สอบสัมภาษณ์ และเมื่อให้ความรู้เสร็จเรียบร้อยอาจารย์ก็ให้เล่นเกมส์ชื่อเกมส์ ทุ่งหญ้าสะวันน่า
ต่อไปเข้าเรื่องเกี่ยวกับการเรียนเรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆ ของเด็กปฐมวัย ด้านทักษะภาษา
ด้านทักษะภาษา เป็นด้านที่สภาพแวดล้อมต้องมีตัวหนังสือประกอบอยู่ในห้อง เช่น ป้าย คำศัพท์ เพลง นิทาน คำคล้องจอง กลอน เป็นต้น
การวัดความสามารถทางภาษา มีวิธีการวัดความสามารถทางภาษาของเด็ก เช่น การเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม ถามหาสิ่งต่างๆไหม บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้หรือเปล่า ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นได้ไหม และอาจารย์ได้บอกว่าเด็กอนุบาลให้ตายยังไงก็พูดไม่ชัด เช่น พูดตกหล่น จากคำว่า จิ้งจก เป็น จก การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง พูดติดอ่าง เช่น ครูครูครู
การปฏิบัติของครูและผู้ปกครอง หากน้องพูดผิดเพี้ยนต้องทำเช่นนี้
1. ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือออกเสียงไม่ชัดเจน อย่าไปเซ้าซี้ จำ่จี้จ่ำชัยเขา
2. หากบอกเด็กว่าพูดช้าๆ ตามสบาย คิดก่อนพูด
3. อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
4.อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
5. ไม่เปลี่ยนเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
6.เด็กที่พูดไม่ชัดเจนอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยินจากครู ผู้ปกครอง หรือ บกพร่องทางการได้ยิน
ทักษะพื้นฐานทางภาษา เด็กพิเศษเน้นการรับรู้ และ การแสดง ทักษะพื้นฐานคือ ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยมีทักษะการรับรู้ภาษา การแสดงออกทางภาษา การสื่อความหมายโดยใช้คำพูด เป็นต้น
*** หากเด็กหันมามอง หรือขยับตัว แขน ขา เล็กน้อย หรือแสดงปฎิกริยาใดๆ แสดงว่าเด็กปกติ
ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย ครูต้องรับรู้พัฒนาการทางภาษาของเด็ก เช่น
ในรายสัปดาห์นี้เริ่มเรียนอาจารย์ได้พูดถึงการไปสอบเข้าบรรจุรับราชการของสังกัด กทม.และ สพธ.โดยมีข้อแตกต่างกันในการสอบบรรจุจะต้องผ่าน 3 ด่าน คือ สอบภาค ก สอบภาค ข และ สอบสัมภาษณ์ และเมื่อให้ความรู้เสร็จเรียบร้อยอาจารย์ก็ให้เล่นเกมส์ชื่อเกมส์ ทุ่งหญ้าสะวันน่า
ต่อไปเข้าเรื่องเกี่ยวกับการเรียนเรื่องการส่งเสริมทักษะต่างๆ ของเด็กปฐมวัย ด้านทักษะภาษา
ด้านทักษะภาษา เป็นด้านที่สภาพแวดล้อมต้องมีตัวหนังสือประกอบอยู่ในห้อง เช่น ป้าย คำศัพท์ เพลง นิทาน คำคล้องจอง กลอน เป็นต้น
การวัดความสามารถทางภาษา มีวิธีการวัดความสามารถทางภาษาของเด็ก เช่น การเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูดไหม ตอบสนองเมื่อมีคนพูดด้วยไหม ถามหาสิ่งต่างๆไหม บอกเล่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นได้หรือเปล่า ใช้คำศัพท์ของตัวเองกับเด็กคนอื่นได้ไหม และอาจารย์ได้บอกว่าเด็กอนุบาลให้ตายยังไงก็พูดไม่ชัด เช่น พูดตกหล่น จากคำว่า จิ้งจก เป็น จก การใช้เสียงหนึ่งแทนอีกเสียง พูดติดอ่าง เช่น ครูครูครู
การปฏิบัติของครูและผู้ปกครอง หากน้องพูดผิดเพี้ยนต้องทำเช่นนี้
1. ไม่สนใจการพูดซ้ำหรือออกเสียงไม่ชัดเจน อย่าไปเซ้าซี้ จำ่จี้จ่ำชัยเขา
2. หากบอกเด็กว่าพูดช้าๆ ตามสบาย คิดก่อนพูด
3. อย่าขัดจังหวะขณะเด็กพูด
4.อย่าเปลี่ยนการใช้มือข้างที่ถนัดของเด็ก
5. ไม่เปลี่ยนเทียบการพูดของเด็กกับเด็กคนอื่น
6.เด็กที่พูดไม่ชัดเจนอาจเกี่ยวข้องกับการได้ยินจากครู ผู้ปกครอง หรือ บกพร่องทางการได้ยิน
ทักษะพื้นฐานทางภาษา เด็กพิเศษเน้นการรับรู้ และ การแสดง ทักษะพื้นฐานคือ ฟัง พูด อ่าน เขียน โดยมีทักษะการรับรู้ภาษา การแสดงออกทางภาษา การสื่อความหมายโดยใช้คำพูด เป็นต้น
พฤติกรรมตอบสนองการแสดงออกทางภาษา
เด็กตอบสนองต่อสิ่งเร้านี้หรือไม่
|
ใช่
|
ไม่
|
บางครั้ง
|
|
พฤติกรรมเริ่มการแสดงออกของเด็ก
เด็กเริ่มทำโดย
|
ใช่
|
ไม่
|
บางครั้ง
|
|
*** หากเด็กหันมามอง หรือขยับตัว แขน ขา เล็กน้อย หรือแสดงปฎิกริยาใดๆ แสดงว่าเด็กปกติ
ความรับผิดชอบของครูปฐมวัย ครูต้องรับรู้พัฒนาการทางภาษาของเด็ก เช่น
- การรับรู้ภาษามาก่อนการแสดงออกทางภาษา
- ภาษาที่ไม่ใช้คำพูดมาก่อนภาษาพูด
- ให้เวลาเด็กได้พูด
- คอยให้เด็กตอบ (ชี้แนะหา)
- เป็นผู้ฟังที่ดีและโต้ตอบอย่างฉับไว
- เด็กไม่ได้เรียนรู้ภาษาจากการฟังอย่างเดียว
- ให้เด็กทำกิจกรรมกลุ่ม เด็กพิเศษได้มีแบบอย่างจากเพื่อน
- กระตุ้นให้เด็กบอกความต้องการของตนเอง (ครูไม่คาดการณ์ล่วงหน้า)
- เน้นวิธีการสื่อความหมายมากกว่าการพูด
- ใช้คำถามปลายเปิด
- เด็กพิเศษรับรู้มากเท่าไหร่ ยิ่งพูดได้มากเท่านั้น
- ร่วมกิจกรรมกับเด็ก
การสอนตามเหตุการณ์เคสจำลองใช้กับเด็กพิเศษ
เรื่องการใส่เสื้อผ้าด้วยตนเอง หากครูไปเจอเด็กกำลังใส่เสื้อผ้าด้วยตนเอง ครูต้องปฏิบัติดังนี้
ขั้นตอน
1. ถามว่า หนูทำอะไรค่ะ
2. หนูจะใส่ผ้ากันเปื้อนใช่ไหมค่ะ
3. หนูใส่ผ้ากันเปื้อนได้ไหม
4. ไหนพูดตามครูสิ ผ้ากันเปื้อน
5. ถ้าเด็กใส่ไม่ได้ครูก็ใส่ให้เลย
2. หนูจะใส่ผ้ากันเปื้อนใช่ไหมค่ะ
3. หนูใส่ผ้ากันเปื้อนได้ไหม
4. ไหนพูดตามครูสิ ผ้ากันเปื้อน
5. ถ้าเด็กใส่ไม่ได้ครูก็ใส่ให้เลย
โดยกิจกรรมนี้สามารถบกบ่องถึงบุคลิกภาพของเเต่ละคนว่าเป็นคนเช่นไร และยังสามารถฝึกสมาธิ ได้ด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ในการทำกิจกรรม และส่งเสริมการทำงานร่วมกับผู้อื่น อีกทั้งยังได้จินตนาการความคิดสร้างสรรค์ของเเต่ละคนด้วยคะ
ประเมินการเรียนการสอนรายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและแต่งกายเรียบร้อย
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนมาเรียนครบ ตั้งใจเรียนและร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงต่อเวลา
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น