Inclusive Education Experiences Management for Early Childhood
วิชาการจัดประสบการณ์การการศึกษาเเบเรียนรวมสำหรับเด็กปฐมวัย
wellcome to blogger freemmie
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
วันเสาร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 1ุ6
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันพฤหัสบดี ที่ 30 เดือนเมษายน พ.ศ.2558
ครั้งที่ 16 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
ในสัปดาห์นี้อาจารยได้ให้นักศึกษาออกไปสอบร้องเพลงที่อาจารย์เคยสอนมา โดย มีทั้งหมด 30 เพลง โดยให้ออกไปจับฉลากว่าตนเองได้เพลงอะไร และอาจารย์จะเป็นคนจับลำดับเลขที่การออกไปร้องตามลำดับ โดยดิฉันได้เพลง กายบริหาร โดยมีเนื้อหาเพลงดังต่อไปนี้
ในสัปดาห์นี้อาจารยได้ให้นักศึกษาออกไปสอบร้องเพลงที่อาจารย์เคยสอนมา โดย มีทั้งหมด 30 เพลง โดยให้ออกไปจับฉลากว่าตนเองได้เพลงอะไร และอาจารย์จะเป็นคนจับลำดับเลขที่การออกไปร้องตามลำดับ โดยดิฉันได้เพลง กายบริหาร โดยมีเนื้อหาเพลงดังต่อไปนี้
เพลง กายบริหาร
ฝึกกายบริหารทุกวันร่างกายเเข็งเเรง
ฝึกกายบริหารทุกวันร่างกายแข็งเเรง
ร่างกายสมส่วนแคล่วคล่องว่องไว
ร่างกายสมส่วนแคล่วคล่องว่องไว
ประเมินการเรียนการสอนรายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและแต่งกายเรียบร้อยและเข้าเรียนตรงต่อเวลา และได้ึกซ่อมร้องเพลงเป็นอย่างดี มีการซ้อมจากที่บ้านจึงสามรถจำเนื้อร้องเพลงได้
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนสอบร้องเพลงกันเกือบทุกคน ทุกคนมีความเตรียมพร้อม บางคนก็ตื่นเต้น ร้องผิดเพี้ยน้างตามความสามารถของตนเอง
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงต่อเวลา สอนสนุกสนาน เฮฮา ขำขันเพราะเพื่อนร้องเพลงกันตลก ผิดคีย์บ้าง ผิดทำนองบ้าง
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและแต่งกายเรียบร้อยและเข้าเรียนตรงต่อเวลา และได้ึกซ่อมร้องเพลงเป็นอย่างดี มีการซ้อมจากที่บ้านจึงสามรถจำเนื้อร้องเพลงได้
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนสอบร้องเพลงกันเกือบทุกคน ทุกคนมีความเตรียมพร้อม บางคนก็ตื่นเต้น ร้องผิดเพี้ยน้างตามความสามารถของตนเอง
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงต่อเวลา สอนสนุกสนาน เฮฮา ขำขันเพราะเพื่อนร้องเพลงกันตลก ผิดคีย์บ้าง ผิดทำนองบ้าง
วัน เสาร์ ที่ 2 เดือนพฤษภาคม พ.ศ.2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 15
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 21 เดือนเมษายน พ.ศ.2558
ครั้งที่ 15 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
ในรายสัปดาห์นี้ก่อนเริ่มการสอน อาจารย์ได้ให้นักศึกษาเล่นเกมดิ่งพสุธา โดยมีคำถามทั้งหมด 4 ข้อ และให้นักศึกษาร่วมกันตอบคำถาม โดยมีเฉลยมาให้ บรรยายกาศในการเล่นเกมก็เต็มไปด้วยความสนุกสนาน เพราะคำตอบนั้นนักศึกษาเข้าใจและรู้ลึกรู้ซึ้งเป็นอย่างดีคะ
ในรายสัปดาห์นี้ก่อนเริ่มการสอน อาจารย์ได้ให้นักศึกษาเล่นเกมดิ่งพสุธา โดยมีคำถามทั้งหมด 4 ข้อ และให้นักศึกษาร่วมกันตอบคำถาม โดยมีเฉลยมาให้ บรรยายกาศในการเล่นเกมก็เต็มไปด้วยความสนุกสนาน เพราะคำตอบนั้นนักศึกษาเข้าใจและรู้ลึกรู้ซึ้งเป็นอย่างดีคะ
หลังจากความสนุกสนานจไปแล้ว ก็เข้าสู่กิจกรรมการเรียนการสอน หืมมมมมม พออาจารย์จะสอนก็เสียงเจี้ยวจ้าวกันเลยทีเดียว เนรคทุกป้ายเเวะเติมน้ำมัน หะ พอพอพอ เข้าสู่บทเรียน
วันนี้เราจะเรียนกันเรื่อง โปรแกรมการศึกษาเฉพาะบุคคล ( Individualized Education Program )
การเขียนแผน IEP เป็นแผนที่ไม่ได้เขียนคนเดียว ไม่เหมือนแผนการสอน แผน IEP จัดทำกันหลายคน คือ ครู หมอ ผู้ปกครอง ผู้บริหาร ดังนั้นแผนจะสำเร็จได้นั้นหลาย่ายต้องช่วยเหลือกัน แผน IEP 1 แผนสามารถใ้ได้ถึง 1 ภาคเรียนหรือเทอมนึง ในการเขียนแผน IEP นั้นครูต้องคัดแยกเด็ก ครูต้องทราบลายละเอียดเด็กอย่างละเอียด ทุกอย่างต้องรู้ลึกรู้จริงการเขียนที่ต้องพ้นไปแล้ว 1 เทอมถึงจะเขียนได้ เพราะเวลา 1 เทอมครูสามารถศึกษาพฤติกรรมเด็กได้เป็นเวลาพอสมควร แผน IEP นั้นจะประกอบด้วย
- ข้อมูลส่วนตัวของเด็ก
- ระบุว่าเด็กมีความจำเป็นต้องได้รับบริการพิเศษอะไรบ้าง
- การระบุความสามารถของเด็กในขณะปัจจุบัน
- เป้าหมายระยะยาวประจำปี / ระยะสั้น ( สำคัญมาก )
- ระบุวัน เดือน ปี ที่เริ่มทำการสอน และคาดคะเนการสิ้นสุดของแผน
- วิธีการประเมิน
แผน IEP เป็นแผนการศึกษาที่ร่างขึ้น เพื่อให้เด็กพิเศษแต่ละคนได้รับการสอน และการ่วยเหลือฟื้นฟูให้เหมาะสมกับความต้องการและความสามารถของเรา ด้วยการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก โดยมีการระุเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดการใช้แผนและวิธีการวัดประเมินผลเด็ก
แผน IEP มีประโยน์ต่อผู้เรียนคือ
- ได้เรียนรู้ตามความสามารถของตน
- ได้มีโอกาสพัฒนาตามศักยภาพของตน
- ได้รัการศึกษาและฟื้นฟูอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
- ถ้าเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนจะไม่ถูกจัดเข้าชั้นเรียนเฉยๆ
ซึ่งในการเขียนแผน IEP นั้นครูต้องคัดแยกเด็ก ครูต้องทราว่าเด็กมีปัญหาอะไร ครูประเมินพัฒนาการเด็กเป็นระยะ จะทำให้ทราบว่าจะต้องเริ่มช่วยเหลือเด็กจากจุดไหน ในทักษะใด และเด็กสามารถทำอะไรได้ เด็กไม่สามารถทำอะไรได้ แล้วจึงจะเริ่มเขียนแผนได้
แผน IEP มีประโยชน์ต่อครูผู้สอนคือ
- เป็นแนวทางการจัดการเรียนการสอนที่ตรงกัความต้องการและความสามารถของเด็ก
- เป็นแนวทางในการเลือกสื่อการสอนและวิธีการสอนให้เหมาะกับเด็ก
- ปรับเปลี่ยนได้เมื่อความต้องการเปลี่ยนแปลงไป
- เป็นแนวทางในการประเมินผลการเรียนและการเขียนรายงานพัฒนาการความก้าวหน้าของเด็ก
- ตรวจสอบและประเมินได้เป็นระยะ
แผน IEP มีประโยชน์ต่อผู้ปกครองคือ
- ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนการเรียนรายบุคคล เพื่อให้เด้กได้พัฒนาความสามารถได้สูงสุดตามศักยภาพ
- ผู้ปกครองทราบร่วมกับครูว่าจะฝึกลูกของตนเองอย่างไร
- ผู้ปกครองเกิดความร่วมมือในการพัฒนาเด็ก มีการติดต่อสื่อสารกันอย่างต่อเนื่อง และใกล้ิชิดระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ในการจัดทำแผน IEP จะต้องมีการประุมผู้ที่เกี่ยวข้อง และร่วมกันกำหนดจุดมุ่งหมายระยะยาวและระยะสั้น กำหนดโปรแกรมและกิจกรรม และจะต้องได้รับการรับรองแผนการศึกษาเฉพาะบุคคลจากทุก่ายที่เกี่ยวข้อง โดยทุกคนต้องยินยอม ลงลายมือชื่อถึงจะนำแผนไปใช้ได้
ขั้นตอนการจัดทำแผนการศึกษารายบุคคล IEP
การกำหนดจุดมุ่งหมาย มีทั้งระยะสั้นและระยะยาว
การรวบรวมข้อมูล เ่ช่น การรายงานทางการแพทย์ รายงานการประเมินด้านต่างๆ หรือจะเป็นบันทึกจากผู้ปกครอง ครู และผู้ที่เกี่ยวข้อง
จุดมุ่งหมายระยะยาว
ในการเขียนแผน IEP จะเป็นการเขียนแผนที่มีความหมายกว้างๆ แต่ตรงประเด็น ตัวอย่างเช่น
- น้องนุ่นช่วยเหลือตนเองได้
- น้องดาวร่วมมือกับคนอื่นได้ดี
- น้องริวเข้ากับเพื่อนคนอื่นได้
จุดมุ่งหมายระยะสั้น
ต้องให้อยู่ภายในจุดมุ่งหมายหลัก เป็นพฤติกรรมที่เด็กสามารถทำได้ในระยะ 2-3 วัน หรือ 2-3 สัปดาห์ จะต้องระบุุขัดเจน เช่น
- ใคร ธนกรณ์
- อะไร นั่งเงียบโดยไม่พูดคุย
- เมื่อไหร่ / ที่ไหน ระหว่างครูเล่านิทาน
- ดีขนาดไหน ช่วงเวลาการเล่านิทาน 10-15 นาทีเป็นเวลา 5 วันติดต่อกัน
การใช้แผน IEP
เมื่อแผนเสร็จสมบูรณ์ ครูจะนำไปใช้โดยจะใช้แผนระยะสั้นและนำมาเป็นจุดหมายเิงพฤติกรรม แยกย่อยขั้นตอนการสอนให้เหมาะกับเด็กจัดเตรียมสื่อและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น ตัดกระดาษ การร้อย การปั้น ครูต้องมีการสังเกตเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเด็กและความสามารถ โดยคำนึงถึง
- ขั้นตอนพัฒนาการของเด็กปกติ
- ตัวชี้วัดพื้นฐานที่เกี่ยวกับปัญหาของพัฒนาการของเด็ก
- อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมของเด็กและผู้ใหญ่ที่มีผลต่อการแสดงออกของเด็ก
การประเมินผล
- โดยทั่วไปจะประเมินภาคเรียนละครั้ง หรือย่อยกว่านั้น ควรมีการกำหนดวิธีการประเมิน และเกณฑ์การวัดผล ***การประเมินในแต่ละทักษะหรือแต่ละกิจกรรมอาจใช้วิธีการวัดและกำหนดเกณฑ์แตกต่างกัน
การจัดทำแผน IEP
1.การรวบรวมข้อมูล 2.การจัดแผนข้อมูล 3.การใช้แผน 4.การประเมิน
ประเมินการเรียนการสอนรายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและแต่งกายเรียบร้อยและเข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจฟัง ตั้งใจจด
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนมาเรียนครบ ตั้งใจเรียนและร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี แต่เสียงดัง พูดคุยกันขณะนั่งเรียน
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงต่อเวลา สอนเข้าใจรู้เรื่อง มีเทคนิคการสอนต่างๆมากมาย สนุกสนานในการเรียน
ประเมินตนเอง
ในรายสัปดาห์นี้ตั้งใจเรียนและแต่งกายเรียบร้อยและเข้าเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจฟัง ตั้งใจจด
ประเมินเพื่อน
ในรายสัปดาห์นี้เพื่อนมาเรียนครบ ตั้งใจเรียนและร่วมกิจกรรมเป็นอย่างดี แต่เสียงดัง พูดคุยกันขณะนั่งเรียน
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์แต่งกายเรียบร้อย เข้าสอนตรงต่อเวลา สอนเข้าใจรู้เรื่อง มีเทคนิคการสอนต่างๆมากมาย สนุกสนานในการเรียน
วันจันทร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2558
วันจันทร์ ที่ 20 เดือนเมษายน พ.ศ.2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 14
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 14 เดือนเมษายน พ.ศ.2558
ครั้งที่ 14 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
วันจันทร์ ที่ 20 เดือนเมษายน พ.ศ. 2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 7 เดือนเมษายน พ.ศ.2558
ครั้งที่ 13 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
ในรายสัปดาห์นี้เป็นการเรียนการสอนการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ โดยที่ผ่านมา ได้เรียนไปแล้ว 3 ด้านคือ ด้านทักษะสังคม ด้านทักษะภาษา ด้านทักษะการการช่วยเหลือตนเอง ในสัปดาห์จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานทางการเรียน ซึ่งเป็นทักษะสุดท้าย ซึ่งในการเขียนแผน IEP นั้นเราจะต้องใส่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของ 4 ทักษะนี้ โดยจำไว้ว่าเป้าหมายหลักๆของการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางการเรียนเราต้องเตรียมความพร้อมของเด็ก คือ การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดีที่ตนสามารถ ทำอะไรด้วยตนเองได้ ซึ่งเด็กจะเกิดการพัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากสำรวจอยากทนลองการส่งเสริมพื้นฐานการเรียนรู้ไม่ใช่เพียงแต่ให้เด็กสามารถบวกลบคูณหารเป็น ครูต้องช่วยให้เด้กเเต่ละคนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ได้ด้วย โดยเราตัวครูคอยให้คำแนะนำ คำปรึกษาอยู่ห่างๆ ในการสอนเด็กนั้นช่วงความสนใจเด็กมีไม่มากนั้น เช่นเด็กพิเศษช่วงความสนใจเขาจะมีเพียง 5 - 10 นาที ดังนั้นในการเล่านิทานหากมีเด็กพิเศษเรียนด้วย นิทานเรื่องนั้นควรเป็นนิทานที่ฟังจนจบ มีหน้าไม่มากเกินไป แต่หากเป็นกิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมศิลปะ ก็ควรเป็นกิจกรรมที่ง่ายๆ เด็กสามารถทำแปปเดียวเสร็จ ไม่ต้องมาก ไม่ต้องยาก เพื่อให้เด็กรู้สึกว่า ตนเองทำได้ หนูทำได้
การเลียนแบบ การเรียนรู้ส่วนมากใช้วิธีการเรียนรูัแบบเลียนแบบ จาก ครู เพื่อน หรือผู้ที่มาอายุมากกว่า การกระตุ้นการทำตามคำสั่ง คำแนะนำนั้น ในการสั่งอาจเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้คือ เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดไม่ชัดเจน เด็กไม่เข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้ คำสั่งของครูผู้สอนยากมีความซับซ้อนเกินไป
เคสตัวอย่าง
ในห้องเรียนเด็กอนุบาล มีเด็กชื่อซอนย่า เป็นเด็กดาว์นซินโดรม มีความบกพร่องทางสติปัญญา โคโมโซมตัวที่ 21 ขาดหายไป 1 แท่ง แต่ครูต้องการให้น้องซอนย่าเลียนแบบเพื่อนในการเรียนรู้ โดยมีน้องหมิวเป็นเด็กปกติ ครูต้องการให้น้องซอนย่าไปหยิบกระเป๋าให้ครู เพราะฉนั้นครูต้องให้น้องซอนย่าทำตามน้องหมิว ดังนั้นในการใช้ให้เด็กซอนย่าและน้องหมิวไปหยิบกระเป๋า ครูต้องเรียกชื่อน้องซอนย่าก่อน คือ น้องซอนย่า น้องหมิวไปหยิบกระเป๋าสีชมพูบนโต๊ะให้ครูหน่อยลูก พอน้องซอนย่าเห็นน้องหมิวลุกขึ้น น้องซอนย่าก็จะลุกขึ้นตาม ในการเรียกชื่อครูต้องตั้งสติน้องซอนย่าก่อน เอาเด็กพิเศษขึ้นก่อนเสมอเพื่อดึงสติ
- การรับรู้ทางการเคลื่อนไหว
คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การได้ยิน การมองเห็น การสัมผัส การลิ้มรส การดมกลิ่น ถ้าหากคนปกติ ถ้าเราใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้วยคนปกติจะตอบสนอง แต่ถ้าเด็กพิเศษจะไม่ตอบสนองเราต้องเรียกและเข้าไปเตะตัวเลย
เคสตัวอย่าง
ในบางกรณี ถ้วยกาแฟ ถ้าหากเด็กปกติจับถ้วยกาแฟร้อนๆ มือจะถึงเด็กจะเกิดความร้อนของกาแฟเด้กจะกะชากมือออก แต่เด็กพิเศษซึ่งตรงกันข้ามคือ เวลาอาจผ่านไปสัก 3 นาทีถึงเด็กจะมีความรู้สึกว่าร้อนถึงจะกะชากมือออกซึ่งเป็นเรื่งอปกติ ในการจัดของเล่นควรมีน้ำหนัก มีพื้นผิว เพื่อให้เขามีความรู้สึก เพื่อที่จะกระตุ้นความรู้สึกเขาเยอะๆ
- การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
การประเมินการเรียนรู้รายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน ตั้งใจจด ตั้งใจฟัง ไม่พูดคุยเสียงดัง แต่งกายเรียนร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนมาเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนทุกคน น่ารักพูดมาก 555
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์มีเทคนิคการสอนใหม่ๆเข้ามา เช่น การเล่นเกม การนำวีดีโอมาให้ชม เพาเว้อพ้อยที่นำเสนอก็มีเนื้อหาที่ชัดเจน เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อยควรเอาเป็นตัวอย่าง
ในรายสัปดาห์นี้เป็นการเรียนการสอนการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ โดยที่ผ่านมา ได้เรียนไปแล้ว 3 ด้านคือ ด้านทักษะสังคม ด้านทักษะภาษา ด้านทักษะการการช่วยเหลือตนเอง ในสัปดาห์จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานทางการเรียน ซึ่งเป็นทักษะสุดท้าย ซึ่งในการเขียนแผน IEP นั้นเราจะต้องใส่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของ 4 ทักษะนี้ โดยจำไว้ว่าเป้าหมายหลักๆของการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางการเรียนเราต้องเตรียมความพร้อมของเด็ก คือ การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดีที่ตนสามารถ ทำอะไรด้วยตนเองได้ ซึ่งเด็กจะเกิดการพัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากสำรวจอยากทนลองการส่งเสริมพื้นฐานการเรียนรู้ไม่ใช่เพียงแต่ให้เด็กสามารถบวกลบคูณหารเป็น ครูต้องช่วยให้เด้กเเต่ละคนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ได้ด้วย โดยเราตัวครูคอยให้คำแนะนำ คำปรึกษาอยู่ห่างๆ ในการสอนเด็กนั้นช่วงความสนใจเด็กมีไม่มากนั้น เช่นเด็กพิเศษช่วงความสนใจเขาจะมีเพียง 5 - 10 นาที ดังนั้นในการเล่านิทานหากมีเด็กพิเศษเรียนด้วย นิทานเรื่องนั้นควรเป็นนิทานที่ฟังจนจบ มีหน้าไม่มากเกินไป แต่หากเป็นกิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมศิลปะ ก็ควรเป็นกิจกรรมที่ง่ายๆ เด็กสามารถทำแปปเดียวเสร็จ ไม่ต้องมาก ไม่ต้องยาก เพื่อให้เด็กรู้สึกว่า ตนเองทำได้ หนูทำได้
การเลียนแบบ การเรียนรู้ส่วนมากใช้วิธีการเรียนรูัแบบเลียนแบบ จาก ครู เพื่อน หรือผู้ที่มาอายุมากกว่า การกระตุ้นการทำตามคำสั่ง คำแนะนำนั้น ในการสั่งอาจเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้คือ เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดไม่ชัดเจน เด็กไม่เข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้ คำสั่งของครูผู้สอนยากมีความซับซ้อนเกินไป
เคสตัวอย่าง
ในห้องเรียนเด็กอนุบาล มีเด็กชื่อซอนย่า เป็นเด็กดาว์นซินโดรม มีความบกพร่องทางสติปัญญา โคโมโซมตัวที่ 21 ขาดหายไป 1 แท่ง แต่ครูต้องการให้น้องซอนย่าเลียนแบบเพื่อนในการเรียนรู้ โดยมีน้องหมิวเป็นเด็กปกติ ครูต้องการให้น้องซอนย่าไปหยิบกระเป๋าให้ครู เพราะฉนั้นครูต้องให้น้องซอนย่าทำตามน้องหมิว ดังนั้นในการใช้ให้เด็กซอนย่าและน้องหมิวไปหยิบกระเป๋า ครูต้องเรียกชื่อน้องซอนย่าก่อน คือ น้องซอนย่า น้องหมิวไปหยิบกระเป๋าสีชมพูบนโต๊ะให้ครูหน่อยลูก พอน้องซอนย่าเห็นน้องหมิวลุกขึ้น น้องซอนย่าก็จะลุกขึ้นตาม ในการเรียกชื่อครูต้องตั้งสติน้องซอนย่าก่อน เอาเด็กพิเศษขึ้นก่อนเสมอเพื่อดึงสติ
- การรับรู้ทางการเคลื่อนไหว
คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การได้ยิน การมองเห็น การสัมผัส การลิ้มรส การดมกลิ่น ถ้าหากคนปกติ ถ้าเราใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้วยคนปกติจะตอบสนอง แต่ถ้าเด็กพิเศษจะไม่ตอบสนองเราต้องเรียกและเข้าไปเตะตัวเลย
เคสตัวอย่าง
ในบางกรณี ถ้วยกาแฟ ถ้าหากเด็กปกติจับถ้วยกาแฟร้อนๆ มือจะถึงเด็กจะเกิดความร้อนของกาแฟเด้กจะกะชากมือออก แต่เด็กพิเศษซึ่งตรงกันข้ามคือ เวลาอาจผ่านไปสัก 3 นาทีถึงเด็กจะมีความรู้สึกว่าร้อนถึงจะกะชากมือออกซึ่งเป็นเรื่งอปกติ ในการจัดของเล่นควรมีน้ำหนัก มีพื้นผิว เพื่อให้เขามีความรู้สึก เพื่อที่จะกระตุ้นความรู้สึกเขาเยอะๆ
- การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
จากภาพจะเห็นได้ว่า ภาพที่ 1 มีความเหมาะสมกับเด็กมากที่สุด คือ มีความเล็ก สะดวก ปลอดภัย ปลายกรรไกรโค้งมน ซึ่งมีความเหมาะสมมากกับเด็กอนุบาล
- ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ
จะเห็นได้ว่า ภาพที่ 2 ไม่เหมาะสมกับเด็กเพราะตัวต่อมีเยอะเกินไป
จากภาพนั้น เป็นการต่อบล็อก โดยวิธีการเล่นนั้นครูเป็นผู้ต่อบล็อกให้เด็กได้ดู เป็นตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการต่อบล้อกให้เกิดการเรียนรู้ ในการเล่นนั้น 1. เด็กสามารถเล่นกับเพื่อน 2.ในการเล่นนั้นเด็กสามารถวนกิจกรรมเอาเพื่อให้เดผ้กช่วยกันต่อบล้อก ซึ่งกิจกรรมนี้จะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดี และคิดว่าตนเองสามารถทำได้ อีกทั้งกิจกรรมนี้ยังช่วยฝึกสมาธิ และช่วยส่งเสริมกล้ามเนื้อเล็กในการทำกิจกรรมอีกด้วย
ในการทำกิจกรรมนั้นมีประโยชน์มากมายซึ่งส่งผลต่อความจำของเด็ก เช่น ในการทำกิจกรรมเราสามารถให้เด็กเล่าสิ่งที่เกิดขึ้นในการทำกิจกรรม
จากการสนทนา เช่น
- เมื่อเช้าหนูทานอะไร
- แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
- จำตัวละครในนิทาน
- จำชื่อครู หรือเพื่อน
- เล่นเกมทายของที่หายไป
ทักษะด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
เช่น การจำแนก เปรียบเทียบ การชั่ง การตวง การคาดคะเน เป็นต้น
จากภาพนั้นเด็กจะได้ เรื่อง มิติสัมพันธ์ เครื่องเล่นข้างบน - ข้างล่าง
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นเรียนรู้โดยช่วงเวลาสั้นๆ
- ให้งานเด็กเเต่ละคนอย่างชัดเจน ว่าต้องทำที่ไหน
- ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- บันทึกว่าเด็กชอบอะไรมากที่สุด
- รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
- มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
- เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
- พูดในทางที่ดี
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- ทำบทเรียนให้สนุก
หลังจากได้เรียนรู้ไปแล้วอาจารย์ก็เปิดวีดีโอให้ดู ในวีดีโอนั้นเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายซึ่งไม่มีแขนทั้งสองข้าง แต่สามารถดำรงชีวิตได้แบบคนปกติ ซึ่งทำให้รู้ว่าเรามีครบทั้ง 32 เราควรทำตัวให้มีค่าอย่าย่อท้อต่ออุปสรรคทั้งหลายทั้งปวง ขนาดน้องเขามีไม่ครบ 32 น้องเขายังสู้ชีวิตและดำรงชีวิตอย่างมีความสุข หากเราท้อเมื่อไหร่เราสามารถนึกถึงน้องเขาได้เพื่อเป็นเเรงผลักดันในการต่อสู้กับอุปสรรคทั้งหลายทั้งปวง เพราะในโลกนี้มีคนที่ลำบากและแย่กว่าเราเยอะ เกิดเป็นคนสู้ดินรนต่อไปจนกว่าจะสิ้นลมหายใจ และยั้งคิดเสมอว่าทุกวันเป็นวันสุดท้ายของชีวิต สู้สู้คะ
การประเมินการเรียนรู้รายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน ตั้งใจจด ตั้งใจฟัง ไม่พูดคุยเสียงดัง แต่งกายเรียนร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนมาเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนทุกคน น่ารักพูดมาก 555
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์มีเทคนิคการสอนใหม่ๆเข้ามา เช่น การเล่นเกม การนำวีดีโอมาให้ชม เพาเว้อพ้อยที่นำเสนอก็มีเนื้อหาที่ชัดเจน เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อยควรเอาเป็นตัวอย่าง
วันจันทร์ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2558
วัน จันทร์ที่ 6 เดือน เมษายน พ.ศ.2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 12
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 31 เดือนมีนาคม พ.ศ.2558
ครั้งที่ 12 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
*** ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ได้งดการเรียนการสอน เนื่องจากมีกีฬาสีคณะศึกษาศาสตร์ โดยอาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาทุกคนไปช่วยการทำอุปกรณ์เชียร์ แสตน และเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาสีคณะศึกษาศาสตรฺ์ โดยนักศึกษาทุกคนก็ให้ความร่วมมือกันอย่างดี และบางคนลงกีฬาเพื่อเป็นตัวแทนของเอกปฐมวัย โดยการแข่งขันครั้งนี้เอกปฐมวัยก็ได้รางวัลมามากมาย ทั้งแสตนเชียร์ เชียร์หลีดเดอร์ และกีฬาอื่นๆอีกมากมายคะ
*** ในรายสัปดาห์นี้อาจารย์ได้งดการเรียนการสอน เนื่องจากมีกีฬาสีคณะศึกษาศาสตร์ โดยอาจารย์มอบหมายให้นักศึกษาทุกคนไปช่วยการทำอุปกรณ์เชียร์ แสตน และเข้าร่วมกิจกรรมกีฬาสีคณะศึกษาศาสตรฺ์ โดยนักศึกษาทุกคนก็ให้ความร่วมมือกันอย่างดี และบางคนลงกีฬาเพื่อเป็นตัวแทนของเอกปฐมวัย โดยการแข่งขันครั้งนี้เอกปฐมวัยก็ได้รางวัลมามากมาย ทั้งแสตนเชียร์ เชียร์หลีดเดอร์ และกีฬาอื่นๆอีกมากมายคะ
วันอังคาร ที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ.2558
บันทึกอนุทินครั้งที่ 11
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 25 เดือนมีนาคม พ.ศ.2558
ครั้งที่ 11 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
สมัครสมาชิก:
บทความ
(
Atom
)