บันทึกอนุทินครั้งที่ 13
วิชา การจัดประสบการณ์การศึกษาแบบเรียนรวม
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์ตฤณ แจ่มถิ่น
วันอังคาร ที่ 7 เดือนเมษายน พ.ศ.2558
ครั้งที่ 13 กลุ่ม 103 ห้องเรียน 443
เวลาเรียน 14.10 - 16.40 น.
ในรายสัปดาห์นี้เป็นการเรียนการสอนการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ โดยที่ผ่านมา ได้เรียนไปแล้ว 3 ด้านคือ ด้านทักษะสังคม ด้านทักษะภาษา ด้านทักษะการการช่วยเหลือตนเอง ในสัปดาห์จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานทางการเรียน ซึ่งเป็นทักษะสุดท้าย ซึ่งในการเขียนแผน IEP นั้นเราจะต้องใส่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของ 4 ทักษะนี้ โดยจำไว้ว่าเป้าหมายหลักๆของการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางการเรียนเราต้องเตรียมความพร้อมของเด็ก คือ การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดีที่ตนสามารถ ทำอะไรด้วยตนเองได้ ซึ่งเด็กจะเกิดการพัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากสำรวจอยากทนลองการส่งเสริมพื้นฐานการเรียนรู้ไม่ใช่เพียงแต่ให้เด็กสามารถบวกลบคูณหารเป็น ครูต้องช่วยให้เด้กเเต่ละคนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ได้ด้วย โดยเราตัวครูคอยให้คำแนะนำ คำปรึกษาอยู่ห่างๆ ในการสอนเด็กนั้นช่วงความสนใจเด็กมีไม่มากนั้น เช่นเด็กพิเศษช่วงความสนใจเขาจะมีเพียง 5 - 10 นาที ดังนั้นในการเล่านิทานหากมีเด็กพิเศษเรียนด้วย นิทานเรื่องนั้นควรเป็นนิทานที่ฟังจนจบ มีหน้าไม่มากเกินไป แต่หากเป็นกิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมศิลปะ ก็ควรเป็นกิจกรรมที่ง่ายๆ เด็กสามารถทำแปปเดียวเสร็จ ไม่ต้องมาก ไม่ต้องยาก เพื่อให้เด็กรู้สึกว่า ตนเองทำได้ หนูทำได้
การเลียนแบบ การเรียนรู้ส่วนมากใช้วิธีการเรียนรูัแบบเลียนแบบ จาก ครู เพื่อน หรือผู้ที่มาอายุมากกว่า การกระตุ้นการทำตามคำสั่ง คำแนะนำนั้น ในการสั่งอาจเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้คือ เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดไม่ชัดเจน เด็กไม่เข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้ คำสั่งของครูผู้สอนยากมีความซับซ้อนเกินไป
เคสตัวอย่าง
ในห้องเรียนเด็กอนุบาล มีเด็กชื่อซอนย่า เป็นเด็กดาว์นซินโดรม มีความบกพร่องทางสติปัญญา โคโมโซมตัวที่ 21 ขาดหายไป 1 แท่ง แต่ครูต้องการให้น้องซอนย่าเลียนแบบเพื่อนในการเรียนรู้ โดยมีน้องหมิวเป็นเด็กปกติ ครูต้องการให้น้องซอนย่าไปหยิบกระเป๋าให้ครู เพราะฉนั้นครูต้องให้น้องซอนย่าทำตามน้องหมิว ดังนั้นในการใช้ให้เด็กซอนย่าและน้องหมิวไปหยิบกระเป๋า ครูต้องเรียกชื่อน้องซอนย่าก่อน คือ น้องซอนย่า น้องหมิวไปหยิบกระเป๋าสีชมพูบนโต๊ะให้ครูหน่อยลูก พอน้องซอนย่าเห็นน้องหมิวลุกขึ้น น้องซอนย่าก็จะลุกขึ้นตาม ในการเรียกชื่อครูต้องตั้งสติน้องซอนย่าก่อน เอาเด็กพิเศษขึ้นก่อนเสมอเพื่อดึงสติ
- การรับรู้ทางการเคลื่อนไหว
คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การได้ยิน การมองเห็น การสัมผัส การลิ้มรส การดมกลิ่น ถ้าหากคนปกติ ถ้าเราใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้วยคนปกติจะตอบสนอง แต่ถ้าเด็กพิเศษจะไม่ตอบสนองเราต้องเรียกและเข้าไปเตะตัวเลย
เคสตัวอย่าง
ในบางกรณี ถ้วยกาแฟ ถ้าหากเด็กปกติจับถ้วยกาแฟร้อนๆ มือจะถึงเด็กจะเกิดความร้อนของกาแฟเด้กจะกะชากมือออก แต่เด็กพิเศษซึ่งตรงกันข้ามคือ เวลาอาจผ่านไปสัก 3 นาทีถึงเด็กจะมีความรู้สึกว่าร้อนถึงจะกะชากมือออกซึ่งเป็นเรื่งอปกติ ในการจัดของเล่นควรมีน้ำหนัก มีพื้นผิว เพื่อให้เขามีความรู้สึก เพื่อที่จะกระตุ้นความรู้สึกเขาเยอะๆ
- การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
การประเมินการเรียนรู้รายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน ตั้งใจจด ตั้งใจฟัง ไม่พูดคุยเสียงดัง แต่งกายเรียนร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนมาเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนทุกคน น่ารักพูดมาก 555
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์มีเทคนิคการสอนใหม่ๆเข้ามา เช่น การเล่นเกม การนำวีดีโอมาให้ชม เพาเว้อพ้อยที่นำเสนอก็มีเนื้อหาที่ชัดเจน เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อยควรเอาเป็นตัวอย่าง
ในรายสัปดาห์นี้เป็นการเรียนการสอนการส่งเสริมทักษะต่างๆของเด็กพิเศษ โดยที่ผ่านมา ได้เรียนไปแล้ว 3 ด้านคือ ด้านทักษะสังคม ด้านทักษะภาษา ด้านทักษะการการช่วยเหลือตนเอง ในสัปดาห์จึงเป็นความรู้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานทางการเรียน ซึ่งเป็นทักษะสุดท้าย ซึ่งในการเขียนแผน IEP นั้นเราจะต้องใส่ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของ 4 ทักษะนี้ โดยจำไว้ว่าเป้าหมายหลักๆของการส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางการเรียนเราต้องเตรียมความพร้อมของเด็ก คือ การช่วยให้เด็กแต่ละคนเรียนรู้ได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ซึ่งจะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดีที่ตนสามารถ ทำอะไรด้วยตนเองได้ ซึ่งเด็กจะเกิดการพัฒนาความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น อยากสำรวจอยากทนลองการส่งเสริมพื้นฐานการเรียนรู้ไม่ใช่เพียงแต่ให้เด็กสามารถบวกลบคูณหารเป็น ครูต้องช่วยให้เด้กเเต่ละคนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองให้ได้ด้วย โดยเราตัวครูคอยให้คำแนะนำ คำปรึกษาอยู่ห่างๆ ในการสอนเด็กนั้นช่วงความสนใจเด็กมีไม่มากนั้น เช่นเด็กพิเศษช่วงความสนใจเขาจะมีเพียง 5 - 10 นาที ดังนั้นในการเล่านิทานหากมีเด็กพิเศษเรียนด้วย นิทานเรื่องนั้นควรเป็นนิทานที่ฟังจนจบ มีหน้าไม่มากเกินไป แต่หากเป็นกิจกรรมอื่น เช่น กิจกรรมศิลปะ ก็ควรเป็นกิจกรรมที่ง่ายๆ เด็กสามารถทำแปปเดียวเสร็จ ไม่ต้องมาก ไม่ต้องยาก เพื่อให้เด็กรู้สึกว่า ตนเองทำได้ หนูทำได้
การเลียนแบบ การเรียนรู้ส่วนมากใช้วิธีการเรียนรูัแบบเลียนแบบ จาก ครู เพื่อน หรือผู้ที่มาอายุมากกว่า การกระตุ้นการทำตามคำสั่ง คำแนะนำนั้น ในการสั่งอาจเกิดเหตุการณ์ดังต่อไปนี้คือ เด็กได้ยินสิ่งที่ครูพูดไม่ชัดเจน เด็กไม่เข้าใจคำศัพท์ที่ครูใช้ คำสั่งของครูผู้สอนยากมีความซับซ้อนเกินไป
เคสตัวอย่าง
ในห้องเรียนเด็กอนุบาล มีเด็กชื่อซอนย่า เป็นเด็กดาว์นซินโดรม มีความบกพร่องทางสติปัญญา โคโมโซมตัวที่ 21 ขาดหายไป 1 แท่ง แต่ครูต้องการให้น้องซอนย่าเลียนแบบเพื่อนในการเรียนรู้ โดยมีน้องหมิวเป็นเด็กปกติ ครูต้องการให้น้องซอนย่าไปหยิบกระเป๋าให้ครู เพราะฉนั้นครูต้องให้น้องซอนย่าทำตามน้องหมิว ดังนั้นในการใช้ให้เด็กซอนย่าและน้องหมิวไปหยิบกระเป๋า ครูต้องเรียกชื่อน้องซอนย่าก่อน คือ น้องซอนย่า น้องหมิวไปหยิบกระเป๋าสีชมพูบนโต๊ะให้ครูหน่อยลูก พอน้องซอนย่าเห็นน้องหมิวลุกขึ้น น้องซอนย่าก็จะลุกขึ้นตาม ในการเรียกชื่อครูต้องตั้งสติน้องซอนย่าก่อน เอาเด็กพิเศษขึ้นก่อนเสมอเพื่อดึงสติ
- การรับรู้ทางการเคลื่อนไหว
คือ การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ การได้ยิน การมองเห็น การสัมผัส การลิ้มรส การดมกลิ่น ถ้าหากคนปกติ ถ้าเราใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้วยคนปกติจะตอบสนอง แต่ถ้าเด็กพิเศษจะไม่ตอบสนองเราต้องเรียกและเข้าไปเตะตัวเลย
เคสตัวอย่าง
ในบางกรณี ถ้วยกาแฟ ถ้าหากเด็กปกติจับถ้วยกาแฟร้อนๆ มือจะถึงเด็กจะเกิดความร้อนของกาแฟเด้กจะกะชากมือออก แต่เด็กพิเศษซึ่งตรงกันข้ามคือ เวลาอาจผ่านไปสัก 3 นาทีถึงเด็กจะมีความรู้สึกว่าร้อนถึงจะกะชากมือออกซึ่งเป็นเรื่งอปกติ ในการจัดของเล่นควรมีน้ำหนัก มีพื้นผิว เพื่อให้เขามีความรู้สึก เพื่อที่จะกระตุ้นความรู้สึกเขาเยอะๆ
- การควบคุมกล้ามเนื้อเล็ก
จากภาพจะเห็นได้ว่า ภาพที่ 1 มีความเหมาะสมกับเด็กมากที่สุด คือ มีความเล็ก สะดวก ปลอดภัย ปลายกรรไกรโค้งมน ซึ่งมีความเหมาะสมมากกับเด็กอนุบาล
- ตัวอย่างอุปกรณ์สำหรับเด็กพิเศษ
จะเห็นได้ว่า ภาพที่ 2 ไม่เหมาะสมกับเด็กเพราะตัวต่อมีเยอะเกินไป
จากภาพนั้น เป็นการต่อบล็อก โดยวิธีการเล่นนั้นครูเป็นผู้ต่อบล็อกให้เด็กได้ดู เป็นตัวอย่างเพื่อเป็นแนวทางในการต่อบล้อกให้เกิดการเรียนรู้ ในการเล่นนั้น 1. เด็กสามารถเล่นกับเพื่อน 2.ในการเล่นนั้นเด็กสามารถวนกิจกรรมเอาเพื่อให้เดผ้กช่วยกันต่อบล้อก ซึ่งกิจกรรมนี้จะทำให้เด็กเกิดความรู้สึกที่ดี และคิดว่าตนเองสามารถทำได้ อีกทั้งกิจกรรมนี้ยังช่วยฝึกสมาธิ และช่วยส่งเสริมกล้ามเนื้อเล็กในการทำกิจกรรมอีกด้วย
ในการทำกิจกรรมนั้นมีประโยชน์มากมายซึ่งส่งผลต่อความจำของเด็ก เช่น ในการทำกิจกรรมเราสามารถให้เด็กเล่าสิ่งที่เกิดขึ้นในการทำกิจกรรม
จากการสนทนา เช่น
- เมื่อเช้าหนูทานอะไร
- แกงจืดที่เรากินใส่อะไรบ้าง
- จำตัวละครในนิทาน
- จำชื่อครู หรือเพื่อน
- เล่นเกมทายของที่หายไป
ทักษะด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์
เช่น การจำแนก เปรียบเทียบ การชั่ง การตวง การคาดคะเน เป็นต้น
จากภาพนั้นเด็กจะได้ เรื่อง มิติสัมพันธ์ เครื่องเล่นข้างบน - ข้างล่าง
การวางแผนการเตรียมพื้นฐานทางวิชาการ
- จัดกลุ่มเด็ก
- เริ่มต้นเรียนรู้โดยช่วงเวลาสั้นๆ
- ให้งานเด็กเเต่ละคนอย่างชัดเจน ว่าต้องทำที่ไหน
- ติดชื่อเด็กตามที่นั่ง
- ใช้อุปกรณ์ที่เด็กคุ้นเคย
- บันทึกว่าเด็กชอบอะไรมากที่สุด
- รู้ว่าเมื่อไหร่จะเปลี่ยนงาน
- มีอุปกรณ์ไว้สับเปลี่ยนใกล้มือ
- เตรียมทุกอย่างให้พร้อมก่อนเด็กมาถึง
- พูดในทางที่ดี
- จัดกิจกรรมให้เด็กได้เคลื่อนไหว
- ทำบทเรียนให้สนุก
หลังจากได้เรียนรู้ไปแล้วอาจารย์ก็เปิดวีดีโอให้ดู ในวีดีโอนั้นเป็นเด็กที่มีความบกพร่องทางร่างกายซึ่งไม่มีแขนทั้งสองข้าง แต่สามารถดำรงชีวิตได้แบบคนปกติ ซึ่งทำให้รู้ว่าเรามีครบทั้ง 32 เราควรทำตัวให้มีค่าอย่าย่อท้อต่ออุปสรรคทั้งหลายทั้งปวง ขนาดน้องเขามีไม่ครบ 32 น้องเขายังสู้ชีวิตและดำรงชีวิตอย่างมีความสุข หากเราท้อเมื่อไหร่เราสามารถนึกถึงน้องเขาได้เพื่อเป็นเเรงผลักดันในการต่อสู้กับอุปสรรคทั้งหลายทั้งปวง เพราะในโลกนี้มีคนที่ลำบากและแย่กว่าเราเยอะ เกิดเป็นคนสู้ดินรนต่อไปจนกว่าจะสิ้นลมหายใจ และยั้งคิดเสมอว่าทุกวันเป็นวันสุดท้ายของชีวิต สู้สู้คะ
การประเมินการเรียนรู้รายสัปดาห์
ประเมินตนเอง
ตั้งใจเรียน ตั้งใจจด ตั้งใจฟัง ไม่พูดคุยเสียงดัง แต่งกายเรียนร้อย เข้าเรียนตรงเวลา
ประเมินเพื่อน
เพื่อนมาเรียนตรงต่อเวลา ตั้งใจเรียนทุกคน น่ารักพูดมาก 555
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์มีเทคนิคการสอนใหม่ๆเข้ามา เช่น การเล่นเกม การนำวีดีโอมาให้ชม เพาเว้อพ้อยที่นำเสนอก็มีเนื้อหาที่ชัดเจน เข้าสอนตรงต่อเวลา แต่งกายเรียบร้อยควรเอาเป็นตัวอย่าง
ไม่มีความคิดเห็น :
แสดงความคิดเห็น